โครงสร้างของเลขทะเบียน COSPAR ของ เลขทะเบียนวัตถุอวกาศสากล

เลขทะเบียน COSPAR สามารถแบ่งออกเป็นสามชุดย่อย ได้แก่

  • ชุดแรกคือตัวเลขปี ค.ศ. ของวัตถุที่ถูกส่งขึ้นอวกาศ
  • ชุดที่สองคือตัวเลขลำดับครั้งที่มีการส่งขึ้นอวกาศในปีนั้น
  • ชุดสุดท้ายคือตัวอักษรเฉพาะของดาวเทียมซึ่งเริ่มต้นด้วย A

ตารางด้านล่างคือตัวอย่างของเลขทะเบียนวัตถุอวกาศในโครงการสำคัญๆ

โครงการชิ้นส่วนวัตถุหมายเลขแค็ตตาล็อกดาวเทียม หรือ เลขทะเบียน NORADเลขทะเบียน COSPARปี ค.ศ. ที่ส่งลำดับครั้งที่ส่งในปีปฎิทินตัวอักษรเฉพาะของดาวเทียม ชิ้นส่วนจรวด และส่วนประกอบอื่นๆ
การส่งดาวเทียมดวงแรกของโลกส่วนที่ 2 ของจรวด R-7 Semyorka000011957-001A1957001A
ดาวเทียมสปุตนิก 1000021957-001BB
การส่งจรวด Ariane 5 ในวันที่ 20 ธันวาคม ค.ศ. 2008ดาวเทียม Hot Bird 9334592008-065A2008065A
ดาวเทียม W2M334602008-065BB
กระสวยอวกาศ Sylda334612008-065CC
ส่วนที่ 2 ของจรวด Ariane 5334622008-065DD
การส่งดาวเทียมไทยคม 8 ในวันที่ 27 พฤษภาคม ค.ศ. 2016ดาวเทียมไทยคม 8415522016-031A2016031A
ส่วนที่ 2 ของจรวด Falcon 9 R/B415532016-031BB

แหล่งที่มา

WikiPedia: เลขทะเบียนวัตถุอวกาศสากล http://www.calsky.com/cs.cgi/Satellites/1? http://celestrak.com/ http://www.heavens-above.com/ http://www.n2yo.com/ http://space.skyrocket.de/ http://nssdc.gsfc.nasa.gov/nmc/ http://nssdc.gsfc.nasa.gov/nmc/spacecraftDisplay.d... http://nssdc.gsfc.nasa.gov/nmc/spacecraftDisplay.d... http://nssdc.gsfc.nasa.gov/nmc/spacecraftDisplay.d... http://nssdc.gsfc.nasa.gov/nmc/spacecraftDisplay.d...